หลักสูตรค่าย SMART-i ค่ายจากผลวิจัยระดับโลก ค่ายซัมเมอร์แคมป์ ในไทย Summer Camp in Thailand ค่ายปิดเทอม
ค่ายพัฒนาคุณธรรมและจิตสำ นึกตามหลัก เพื่อ เสริมสร้างความโปร่งใส ความพอเพียง และความเอื้ออาทร สู่ STRONG Model สังคมที่ไร้ทุจริต
ณ โสมาภา ป่าสัก รีสอร์ต ลพบุรี
ค่าย SMART-i หลักการ
ในการจัดค่าย
มุ่งหวังให้เกิดการเรียนรู้ที่ครอบคลุมและนำ เอาจิตตปัญญาศึกษา (Contemplative Education), การเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential Learning), การ เรียนรู้ผ่านเรื่องราว (Story-based Education) และการเรียนรู้ด้วยระบบเกม (Gamification) เข้าไปในกระบวนการเรียนรู้ วิธีการเหล่านี้ถูกออกแบบอย่างพิถีพิถันเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ และส่งเสริมการพัฒนาองค์ประกอบทางบวกของผู้เข้าค่าย จิตตปัญญาศึกษา (CONTEMPLATIVE EDUCATION) การศึกษาด้วยการพิจารณาเน้นการสร้างความรู้และการสำ รวจตนเองผ่านการฝึกสติ ผู้เข้าค่าย จะมีโอกาสฝึกสมาธิในรูปแบบต่าง ๆ เช่นการสังเกตอารมณ์และควบคุมการหายใจ เพื่อเสริม สร้างการรับรู้ตนเองและสร้างความสมดุลระหว่างจิตใจและร่างกาย การเน้นที่การสำ รวจตนเอง และความฉลาดในการเรียนรู้ช่วยส่งเสริมการเติบโตและการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง (EXPERIENTIAL LEARNING) การเรียนรู้จากประสบการณ์เป็นฐานรากของปรัชญาการศึกษาของค่าย SMART-I โดยเน้นให้ผู้ เข้าค่ายมีส่วนร่วมและมุ่งมั่นในการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ในชีวิตจริง ผ่านกิจกรรมที่ใช้มือทำ การเข้าร่วมและฝึกฝน เพื่อให้ได้ความเข้าใจลึกของแนวความคิด พัฒนาทักษะทางปฏิบัติและ เสริมสร้างความสามารถในการคิดอย่างวิเคราะห์ การเรียนรู้ผ่านเรื่องราว(STORY-BASED EDUCATION) การเรียนรู้ตามเรื่องราวเล่นหน้าที่สำ คัญในกระบวนการเรียนรู้ของค่าย SMART-I นักเรียนจะ เรียนรู้ผ่านเรื่องราวเพื่อช่วยให้เกิดความเข้าใจและสร้างความเชื่อมโยงที่มีความหมายระหว่างผู้ เข้าค่ายกับเนื้อหาเรื่องราว ผ่านการผูกเนื้อหาเรื่องราวลงในการเรียนรู้ ผู้เข้าค่ายสามารถสัมผัส ประสบการณ์ส่วนบุคคลกับเนื้อหาได้อย่างกลมกลืนและสร้างการคิดอย่างวิเคราะห์ เสวนา และ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องเพิ่มขึ้น ซึ่งช่วยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เข้าค่ายและกระตุ้นการคิด สร้างสรรค์ การเรียนรู้ด้วยระบบเกม (GAMIFICATION) การใช้เกมในการเรียนรู้ (GAMIFICATION) เป็นวิธีที่น่าสนใจในการเรียนรู้ โดยใช้ความผูกมัด และแรงบันดาลใจจากการเล่นเกม การผสมองค์ประกอบของเกมในกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เข้า ค่ายมีความกระตือรือร้นในการมีส่วนร่วม แก้ปัญหาและพัฒนาทักษะเช่นการทำ งานเป็นทีมและ การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน การใช้เกมส่งเสริมความกระตือรือร้น ส่งเสริมการแข่งขันที่เป็นสุขภาพ และส่งเสริมการวางแผน การเป็นผู้นำ และการร่วมงานในสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมและน่าสนุก โดยรวมเข้าด้วยกันทั้งสี่องค์ประกอบเหล่านี้ SMART-I CAMP ได้ก่อตั้งตนเป็นผู้นำ ในการจัดค่าย เยาวชนที่มีประสิทธิผลในการเปลี่ยนแปลง โดยมีหลักสูตรGROWTH MINDSET , 7 HABITS , ความเมตตากรุณาต่อตนเอง และอื่น ๆ SMART-I CAMP ได้สร้างผลลัพธ์ที่ดีต่อเด็กไทยกว่า 7,000 คนในระยะเวลา 8 ปีที่ผ่านมา เรามุ่งมั่นในการเสริมสร้างและแรงบันดาลใจให้กับจิต วิญญาณของเยาวชน SMART-I CAMP ยังคงให้ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างครอบคลุมที่ส่ง เสริมการเติบโตส่วนบุคคลและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ในการจัดค่าย หลักการ โมเดล STRONG เป็นการนำ ตัวอักษรแรกของศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีความหมายเชิงบวก จำ นวน 6 คำ มาประกอบเป็นคำ ศัพท์สื่อความหมายถึง “ความแข็งแกร่ง” ของบุคคลและ องค์กรในการต่อต้านการทุจริต โดยมีความมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดจิตพอเพียงต้านทุจริต ร่วม กันพัฒนาชุมชนให้ก้าวไปข้างหน้าด้วยการประยุกต์ และบูรณาการหลักความพอเพียงเชื่อม กับความโปร่งใส การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม การตระหนักรู้ และใส่รู้ปัญหาการทุจริต และร่วมกันพัฒนาชุมชนให้มีความเอื้ออาทร บนพื้นฐานของ จริยธรรมและจิตพอเพียง ตลอดจนเกิดเครือข่ายชุมชนจิตพอเพียงต้านทุจริตและเป็นแกน นำ สร้างวัฒนธรรมไม่ทนต่อการทุจริต ซึ่งโมเดล STRONG ได้มีการสร้างและพัฒนาโดยรอง ศาสตราจารย์ ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 – 2562 แสดงได้ดังแผนภาพที่ 1 ดังนี้
จากแผนภาพข้างต้น สามารถอธิบายนิยามเชิงปฏิบัติการได้ดังนี้ (1) พอเพียง (SUFFICIENT: S)
คำ นิยามปี พ.ศ. 2560 - 2561 ผู้นำ ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนน้อมนำ หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับประยุกต์เป็นหลักความพอเพียงในการทำ งาน การดำ รงชีวิต การพัฒนาตนเองและส่วนรวม รวมถึง การป้องกันการทุจริตอย่างยั่งยืน ความพอเพียงต่อสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งของมนุษย์แม้ว่าจะต่างกันตามพื้นฐาน แต่การตัดสินใจว่าความพอเพียงของตนเอง ต้องตั้งอยู่บนความมีเหตุผล รวมทั้งไม่เบียดเบียนตนเอง ผู้อื่น และส่วนรวม ความพอเพียงดัง กล่าวจึงเป็นภูมิคุ้มกันให้บุคคลนั้นไม่กระทำ การทุจริต ซึ่งต้องให้ความรู้ความเข้าใจ (KNOWLEDGE) และการตื่นรู้ (REALIZE)
คำ นิยามปี พ.ศ. 2562 ความพอเพียงของปัจเจกบุคคล ย่อมที่ระดับที่แตกต่างกันตามวิธี คิด สภาพความพร้อมและความสามารถ รวมทั้งตามสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ของบุคคลและครอบครัว กลไกหลัก คือ ปรับวิธีคิดที่แยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและ ส่วนรวมได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเป็นอัตโนมัติ จะนำ ไปสู่จิตสำ นึกที่พอเพียง ไม่ กอบโกยผลประโยชน์โดยมิชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดบังรัฐ ไม่รับอามิสสินบน โดย มิต้องจำ กัดขอบเขตของการประกอบอาชีพที่สุจริต สามารถหาทรัพย์สินเงินทองได้ตาม ความสามารถ ทั้งนี้ โดยไม่เดือดร้อนตนเองและผู้อื่น (2) โปร่งใส (TRANSPARENT: T) คำ นิยามปี พ.ศ. 2560 – 2561 ผู้นำ ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนต้อง ปฏิบัติงานบนฐานของความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ดังนั้น จึงต้องมีและปฏิบัติตามหลัก ปฏิบัติ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ กฎหมายด้านความโปร่งใส ซึ่งต้องให้ความรู้ความเข้าใจ (KNOWLEDGE) และการตื่นรู้ (REALIZE) คำ นิยามปี พ.ศ. 2562 ความโปร่งใส ทำ ให้เห็น ภาพหรือปรากฏการณ์ชัดเจน กลไกหลัก คือ สร้างความรู้ความเข้าใจ และวิธีสังเกตเกี่ยว กับความโปร่งใสของโครงการต่าง ๆ (3) ตื่นรู้ (REALIZE: R) คำ นิยามปี พ.ศ. 2560 – 2561 ผู้นำ ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักรู้ถึงรากเหง้าของปัญหาและภัยร้ายแรงของการทุจริตประพฤติมิ ชอบภายในชุมชนและประเทศ ความตื่นรู้จะบังเกิดเมื่อได้พบเห็นสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อ การทุจริต ย่อมจะมีปฏิกิริยาเฝ้าระวังและไม่ยินยอมต่อการทุจริตในที่สุด ซึ่งต้องให้ความ รู้ความเข้าใจ (KNOWLEDGE) เกี่ยวกับสถานการณ์ทุจริตที่เกิดขึ้น ความร้ายแรงและผลก ระทบต่อระดับบุคคลและส่วนรวม คำ นิยามปี พ.ศ. 2562 เมื่อบุคคลรู้พิษภัยของการ ทุจริต และไม่ทนที่จะเห็นการทุจริตเกิดขึ้น กลไกหลัก การเรียนรู้สถานการณ์การทุจริตใน พื้นที่ ในชุมชน หรือในกรณีที่ปรากฏการทุจริตขึ้น หรือกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นมาแล้วและมี คำ พิพากษาถึงที่สุดแล้ว (4) มุ่งไปข้างหน้า (ONWARD: O) คำ นิยามปี พ.ศ. 2560 – 2561 ผู้นำ ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนมุ่ง พัฒนาและปรับเปลี่ยนตนเองและส่วนรวมให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนบนฐาน ความโปร่งใส ความพอเพียง และร่วมสร้างวัฒนธรรมสุจริตให้เกิดขึ้นอย่างไม่ย่อท้อ ซึ่ง ต้องมีความรู้ความเข้าใจ (KNOWLEDGE) ในประเด็นดังกล่าว คำ นิยามปี พ.ศ. 2562 การ ไม่มีการทุจริตของภาครัฐ จะทำ ให้เงินภาษีถูกนำ ไปใช้ในการพัฒนาอย่างเต็มที่ กลไกหลัก คือ การป้องกันและการป้องปราม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพื้นที่ที่มี ความเสี่ยงในการทุจริต เช่น การบุกรุกพื้นที่สาธารณะ หรือเฝ้าระวังโครงการให้ดำ เนิน การด้วยความโปร่งใส ในการจัดค่าย หลักการ
(5) ความรู้ (KNOWLEDGE: N) คำ นิยามปี พ.ศ. 2560 – 2561 ผู้นำ ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับ องค์กร และชุมชนต้องมีความรู้ ความเข้าใจสามารถนำ ความรู้ไปใช้ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ ประเมินได้อย่างถ่องแท้ใน สถานการณ์การทุจริต ผลกระทบที่มีต่อตนเองและส่วนรวม ความพอเพียงต้านทุจริต การแยกแยะ ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมที่มีความสำ คัญยิ่งต่อ การลดทุจริตในระยะยาว รวม ทั้งความอายไม่กล้าทำ ทุจริตและความไม่ทนเมื่อพบเห็นว่ามีการทุจริตเกิดขึ้น เพื่อสร้างสังคมไม่ ทนต่อการทุจริต คำ นิยามปี พ.ศ. 2562 ความรู้ด้านต่าง ๆ มีความจำ เป็นต่อการป้องกันและป้องปรามการทุจริต กลไกหลัก คือ การให้ความรู้ในรูปแบบการฝึกอบรม หรือให้สื่อเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เช่น (1) ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการทุจริตแบบต่าง ๆ ทั้งแบบสมัยอดีต แบบปัจจุบัน และแบบที่ อาจจะ เกิดขึ้นในอนาคต (5) ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (6) เอื้ออาทร (GENEROSITY: G) คำ นิยามปี พ.ศ. 2560 – 2561 คนไทยมีความเอื้ออาทร มีเมตตา มีน้ำใจต่อกันบนพื้นฐานของจิต พอเพียงต่อต้านทุจริต ไม่เอื้อ ต่อการรับหรือการให้ผลประโยชน์ต่อพวกพ้อง คำ นิยามปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาสังคมไทยให้มีน้ำใจ โอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ โดยไม่มีผล ประโยชน์ตอบแทน หรือหวังผลตอบแทน ในฐานะเพื่อนมนุษย์ กลไกหลัก กิจกรรมจิตอาสา ช่วยเหลือบุคคล ชุมชน/สังคมในยามวิกฤติ หรือการร่วมมือ ในการ ร่วมพัฒนาชุมชน (2) ความรู้เกี่ยวกับการทุจริตในต่างประเทศ (3) วิธีการป้องกัน - ป้องปรามแบบต่าง ๆ (4) ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวัง จากนิยามข้างต้น STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต จึงหมายถึง ผู้ที่มีความพอเพียง ไม่ เบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น (S) มุ่งอนาคตที่เจริญทั้งตนเองและส่วนรวม (O) โดยใช้หลักความ โปร่งใสตรวจสอบได้ (T) พื้นฐานจิตใจมีมนุษยธรรมเอื้ออาทร ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์โดยไม่เห็นแก่ ประโยชน์ต่างตอบแทน (G) ให้ความสำ คัญต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการดำ รงชีวิตในทางที่ ชอบ (N) แต่ตื่นรู้เรื่องภัยทุจริตที่ร้ายแรง ส่งผลต่อสังคม รังเกียจการทุจริตประพฤติมิชอบทั้งปวง ไม่ยอมทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบ (R) นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการพัฒนาโมเดล STRONG โดยเพิ่มในเรื่องของการมีส่วนร่วม (PARTICIPATION) อันเป็นกลไกสำ คัญในการเชื่อมโยงและขับเคลื่อนหลักการของโมเดล STRONG ไปสู่การ ป้องกันการทุจริตได้เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการเผยแพร่หลักการ ของโมเดล STRONG สู่ชุมชน จะดำ เนินการโดยสำ นักงาน ป.ป.ช. ประจำ จังหวัด และมีการคัด เลือกผู้แทน/ผู้นำ ชุมชนในจังหวัดที่มีเครือข่าย มีความสามารถและทักษะในการถ่ายทอดองค์ความ รู้มาอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโมเดล STRONG การนำ ไปประยุกต์ใช้ในการการต่อต้าน การทุจริต เช่น การคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม ความไม่ทนและ ความอายต่อการทุจริต หลักการจิตพอเพียงด้วยวิธีการที่เหมาะสม เป็นต้น เพื่อให้ ผู้ได้รับการคัด เลือกเป็นโค้ช (COACH) ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับหลักการของโมเดล STRONG และการต่อต้าน การทุจริตให้แก่ผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน รวมถึงยังมีการจัดตั้งชมรม STRONG เพื่อให้ทุกภาคส่วนมี ความตระหนักรู้ เล็งเห็นถึงความสำ คัญของปัญหาการทุจริตและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและแจ้ง เบาะแสการทุจริต อ้างอิงจาก ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ
2 วัน 1 คืน
DAY 2
DAY 1
present
กิจกรรม เปิดพื้นที่ปลอดภัย
และสร้าง Campaign ต่อต้านการธุจริต ผ่าน Social Media นำ เสนอโครงการ
กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์
Ribbon คำ มั่นสัญญา Post test ความรู้เกี่ยวกับ STRONG Model
กิจกรรม Walk Rally 6 ฐาน ฐานละ 30 นาที Pretest ความรู้เกี่ยวกับ STRONG Model
S T R
O N G
ufficient ransparent ealise
nward Knowledge enerosity
Explore My Feeling สร้างนวัตกรรม : โรงเรียนปลอดทุจริต
1 Day
กิจกรรม
เวลา
รับลงทะเบียน
07.00-07.30น. 07.30-08.15 น.
เดินทาง โสมาภา ป่าสัก รีสอร์ต
กิจกรรมเปิดพื้นที่ปลอดภัย
8.15-9.30น.
กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
9.30-10.30น.
พักเบรก
10.30-10.45 น. 10.45-12.00 น. 13.00-13.30 น. 12.00-13.00 น. 13.30-17.00 น.
กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ /แบ่งกลุ่ม รับประทานอาหารเที่ยง Pretest ความรู้เกี่ยวกับ STRONG Model กิจกรรม Walk Rally 6 ฐาน ฐานละ 35 นาที
O N G
S T R
nward Knowledge enerosity
ufficient ransparent ealise
พักผ่อนตามอัธยาศัย รับประทานอาหารเย็น สร้างนวตกรรม: โรงเรียนปลอดทุจริต
17.00 น.-18.00 น.
18.00น.-19.00 น. 19.00น.-20.30 น.
20.30น.-21.00 น. Explore My Feeling
2 Day
กิจกรรม
เวลา
รับประทานอาหารเช้า Follow the Leader present นำ เสนอโครงการ โรงเรียนปลอดทุจริต
7.30-8.30น.
8.30-8.45น. 8.45-10.15น.
พักเบรก
10.15-10.30น.
สร้าง Campaign ต่อต้านการธุจริต ผ่าน Social Media
10.15-12.00น.
รับประทานอาหารเที่ยง
12.00-13.00น. 13.00 -13.30น.
Post test ความรู้เกี่ยวกับSTRONG Model
กิจกรรม คำ มั่นสัญญา
13.30 -14.00น.
14.00 -14.30น.
สรุปกิจกรรมและมอบเกียรติบัตร กิจกรรม " Ribbon "
14.30 -15.00น.
เดินทางกลับ
15.00 -15.45น.
กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์
การเรียนรู้เริ่มต้นที่ความสนุก กิจกรรมเปิดหัวใจผู้เรียน ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน กับวิทยากร เพื่อให้พร้อมรับการเรียนรู้ อย่างสนุกสนาน ไม่ใช่แค่เข้าใจ แต่ “เข้าไปในหัวใจ”
กิจกรรม เปิดพื้นที่ ปลอดภัย
การสร้างพื้นที่การเรียนรู้ที่ ปลอดภัย ไม่เน้นแข่งขัน ไม่เปรียบ เทียบ ไม่ตัดสิน หากแต่ใช้ กระบวนการ Gamification เพื่อส่ง เสริมความมีส่วนร่วมของผู้เรียน สนุกกับกิจกรรม และได้เรียนรู้ไป พร้อมๆกัน
การจัดการฐานการเรียนรุ้ แบ่งเด็กเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คน ด้วยกิจกรรม Walk Rally แบ่งเป็น 6 ฐาน ทำ เป็นฐานเวียนตามเนื้อหา STRONG Model กิจกรรมช่วงบ่าย ใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning 1 รับภารกิจ 2 ลงมือทำ กิจกรรม 3 ลองผิดลองถูก 4 ถอดบทเรียน 5 สร้างองค์ความรู้ (จำ -เข้าใจ-นำ ไปใช้-วิเคราะห์)
• กิจกรรม: ผู้เข้าร่วมแบ่งกลุ่มและรับ โจทย์สถานการณ์ที่ต้องจัดสรรทรัพยากรที่ มีอยู่อย่างจำ กัด เช่น การจำ ลองการ วางแผนจัดซื้อทรัพยากรณ์ หรือการสร้าง ผลิตภัณฑ์จากวัสดุที่มี • เป้าหมาย: เพื่อเรียนรู้การวางแผนอย่าง มีเหตุผลและการใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพโดยไม่ฟุ่มเฟือย ฐานที่ 1 SUFFICIENT ฐานความพอเพียง พลังคิด
• กิจกรรม: การจำ ลองการทำ งานใน องค์กร โดยมีสถานการณ์ให้กลุ่มต่าง ๆ ต้องแก้ไขปัญหาด้วยความโปร่งใส ใน บทบาทอาชีพต่างๆ และทำ หน้าที่ของ ตนเองให้อยู่ในความสุจริต • เป้าหมาย: เพื่อสร้างการเข้าใจถึงความ สำ คัญของความโปร่งใสและการสื่อสารที่ เปิดเผยในองค์กร ฐานที่ 2 TRANSPARENT ฐานเปิดเผยโปร่งใส
ฐานที่ 3: REALISE
ฐานตื่นรู้
ทันโลก
• กิจกรรม: เกมหรือกิจกรรมที่ ท้าทายให้ผู้เข้าร่วมระวังและมอง เห็นความสำ คัญของรายละเอียด เช่น เกมจับผิดภาพหรือการอ่าน ข้อมูลที่มีข้อความแฝง เพื่อฝึก ทักษะการสังเกตและความตื่นตัว ในสถานการณ์ต่าง ๆ • เป้าหมาย: เพื่อเสริมสร้างการ ตื่นรู้และการตรวจสอบข้อเท็จจริง
• กิจกรรม: กิจกรรมจำ ลองการ วางแผนอนาคต เช่น การตั้งเป้า หมายระยะสั้นและระยะยาว โดยให้ กลุ่มร่วมกันกำ หนดแนวทางและ อุปสรรคที่จะต้องเผชิญ • เป้าหมาย: เพื่อฝึกการวางแผน และการพัฒนาตนเองให้เติบโตต่อ ไป ฐานที่ 4: ONWARD ฐานมุ่งหน้าอนาคต
ความใส่ใจในทุกรายละเอียดในการ ทำ งานร่วมกันถือเป็นสิ่งสำ คัญ กิจกรรม เพื่อเสริมสร้างความเป็นผู้นำ การเป็นผู้ ตาม การสื่อสาร การตัดสินใจ และการ สร้างทัศนคติเชิงบวกต่ออุปสรรค กิจกรรมตอบคำ ถามที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่ สำ คัญหรือให้ผู้เข้าร่วมทำ กิจกรรมกลุ่มที่ ต้องใช้ความรู้ใหม่ • เป้าหมาย: เพื่อพัฒนาความรู้และส่ง เสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ฐานความรู้สร้างสรรค์ ฐานที่ 5: KNOWLEDGE
ฐานที่ 6: GENEROSITY
ฐานหัวใจเอื้ออาทร
• กิจกรรม: กิจกรรมที่เน้นการช่วย เหลือและการทำ งานร่วมกัน เช่น การ เล่นเกมที่ผู้เล่นต้องช่วยกันทำ ภารกิจ ให้สำ เร็จ หรืองานอาสาที่ต้องร่วมกัน วางแผนและดำ เนินการเพื่อช่วยผู้อื่น • เป้าหมาย: เพื่อส่งเสริมความ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และการทำ งานเป็นทีม
หลังจากช่วงบ่าย ที่ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจ STRONG Model จะนำ พาน้องๆได้สร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ Critical Thinking ด้วยการทำ งานกลุ่ม สร้าง โรงเรียนปลอดทุจริตในฝัน และ สร้าง Campaign เพื่อรณรงค์ส่งเสริม STRONG Model ด้วยสื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook Page และ สร้างสื่อ Digital ด้วย เครื่องมือ Canva กิจกรรมช่วงค่ำ เป็นการเรียนรู้แบบ Project-Based Learning
โรงเรียน
กิจกรรม “ออกแบบโรงเรียนในฝันโดยใช้หลัก S.T.R.O.N.G.” เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เข้า ร่วม ) ได้ออกแบบโรงเรียนที่ตนอยากเห็นโดยใช้หลัก S.T.R.O.N.G. ซึ่งประกอบด้วย Sufficient, Transparent, Realise, Onward, Knowledge, และ Generosity เพื่อ พัฒนาแนวคิดของโรงเรียนที่มีความยั่งยืน โปร่งใส มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีความรู้ และความเอื้อเฟื้อระหว่างกัน ปลอดทุจริต
S.T.R.O.N.G. School
กิจกรรม “ออกแบบโรงเรียนในฝันโดยใช้หลัก S.T.R.O.N.G.” เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เข้า ร่วม ได้ออกแบบโรงเรียนที่ตนอยากเห็นโดยใช้หลัก S.T.R.O.N.G. ซึ่งประกอบด้วย Sufficient, Transparent, Realise, Onward, Knowledge, และ Generosity เพื่อ พัฒนาแนวคิดของโรงเรียนที่มีความยั่งยืน โปร่งใส มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีความรู้ และความเอื้อเฟื้อระหว่างกัน และนำ ผลงานและ Digital Media ของกลุ่มตนสื่อสารผ่าน Facebook Page เพื่อ สื่อสารกับสังคมในวงกว้างต่อไป นำ เสนอโครงการ Present
คำ มั่นสัญญา
การตั้งปณิธาน หรือ Decoration เป็น 1 ในเทคนิคที่ใช้ในการสร้างความจดจำ ที่ค่ายเราไม่ได้เน้นกรื่องการท่องจำ หากแต่ เป็นการจดจำ ความรู้สึก ภาคภูมิใจที่ได้เป็น ส่วนหนึ่งของ “เด็กไทยต้านภัยทุจริต” ผู้เรียนสามารถนำ เนื้อหาที่ได้เรียนกลับไป ใช้ในชีวิตประจำ วัน และเป็น Change Agent หรือ ผู้นำ การเปลี่ยนแปลงไปสู่ สังคมได้ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
Gratitude Ribbon
กิจกรรมริบบิ้น เป็นกิจกรรมที่เด็กๆ จะได้แสดงถึงความรู้สึก ขอบคุณ ขอโทษ และให้กำ ลังใจ แก่ผู้อื่น เป็นการสร้างการสื่อสารเชิงบวกและ เกิดประโยชน์ทั้งผู้ให้และผู้รับ ซึ่งมี ความหมายอย่างยิ่งในวันสุดท้ายของ ค่าย ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งยิ่ง ขึ้น โดยการแลกเปลี่ยนริบบิ้น เป็น กิจกรรมที่เรียบง่ายแต่สร้างผลลัพธ์ สร้างผลกระทบที่ยั่งยืนให้กับผู้คนที่ เกี่ยวข้อง
More Info
@smart-i-camp SMART-i Academy smarticamp
SMART-i Academy
0948799919
www.smart-icamp.com
Camp review
Page 1 Page 2 Page 3 Page 4 Page 5 Page 6 Page 7 Page 8 Page 9 Page 10 Page 11 Page 12 Page 13 Page 14 Page 15 Page 16 Page 17 Page 18Made with FlippingBook flipbook maker