HR in augmented & connected world

explore what are the new world of work look like and how we can turn the challenges into opportunities

AUGMENTED & CONNECTED in world

Founder, TAS Consulting Partner

Summary of Special Talk 2023 Thailand HR Tech Press Conference Personnel Management Association of Thailand (PMAT)

© 2017 - 2023 TAS Consulting Partner I All Rights Reserved

เน้อหา

Tas Chantree

ออกแบบกราฟิก

Tas Chantree

© 2017 - 2023 TAS Consulting Partner I All Rights Reserved

1 st publishing

2 nd May 2023

เรากาลังก้าวเข้าสู่โลกที่ทุกคนและทุกสิ่งเชื่อมต่อถึงกัน

องค์กรต้องปรับตัวอย่างไรเพื่อรองรับทัศนคติ และวิถีที่เปลี่ยนแปลงไปของพนักงาน

โลกในบริบทใหม่ ส่งผลอะไรต่อ HR

และ เราจะยังคงมีชีวิตที่มีความสุข บรรลุเป้าประสงค์ของชีวิต และ

ทางานอย่างมีประสิทธิภาพในสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้อย่างไร

“ call me a 57 year-old start up ”

ไม่มีใครแก่เกินจะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ

ทัส เริ่มบทสนทนาโดยสะท้อนให้ผู้ฟังรู้จักเขาในฐานะ

ผู้เริ่มทาสตาร์ทอัพที่มีอายุ 5 7 ปี เพื่อต้องการสะท้อนให้

เห็นว่า ในโลกยุคดิจิทัลนั้นท้าทายความเชื่อทุกอย่าง

เช่น อายุ ที่คนมักมองว่าเป็นอุปสรรคของการเปิดรับ

เทคโนโลยี แต่ทัสก็แสดงให้เห็นว่า เขาสามารถเริ่มทา

สตาร์ทอัพในธุรกิจคอนซัลท์ติ้งได้ แม้ว่าคนรุ่นเดียวหรือ

อ่อนกว่าเขาหลายคนเริ่มคิดถึงการใช้ชีวิตหลัง

เกษียณอายุ

โลกที่สรรสิ่งเป็นหนึ่งเดียว

ทัส เล่าว่า เรากาลังเข้าสู่โลกแห่ง web. 3.0 โดย

Web 1.0 คือเวปซึ่งตอบสนองทางดียว สาหรับการอ่านข้อมูล เพราะ ในยุคนั้น งานหลังบ้านของระบบเทคโนโลยี มี วิธีการที่สลับซับซ้อน ผู้ใช้งานทั่วไปไม่ สามารถแชร์ข้อมูลเองได้ ขณะที่ web 2.0 เข้ามาทาให้คนโต้ ตอบ แสดงความคิดเห็น และแชร์ข้อมูลเองได้ อันเป็นที่มาของ โซเชี่ยลเนตเวิร์ค และ เป็นจุดกาเนิดของระบบเศรษฐกิจแบบ แพลทฟอร์ม เราทุกคนสามารถเป็นส่วน หนึ่งของเน็ตเวิร์กใที่มีเครือข่ายเชื่อมโยง กว้างใหญ่ เพื่อแชร์ข้อมูล เขียนเรื่องราว แสดงความเห็น ได้งายๆ ผ่าน แอพพลิเคชั่นและแพลทฟอร์มต่างๆ ไม่ จาเป็นต้องมีความรู้ด้านเทคนิค

Web 1.0

Web 2.0 Web 2.0

ส่วน web 3.0 นั้นเป็นยุคที่เราจะได้เห็นและใช้ประโยชน์ของระบบอัจฉริยะเพิ่มมากขึ้น เพราะการติดต่อแลกเปลี่ยน

ไม่ได้จากัดเฉพาะ คนกับคน ผ่านคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือเท่านั้น แต่เป็นการเปิดให้ ทุกสิ่ง ทั้งที่มีชีวิตและไม่มี

Web 3.0

ชีวิต ติดต่อพูดคุยกันเองได้ นั่นคือที่มาของคาว่า Internet of thing (IoT) ในวันนี้เรามีประชากร 8 พันล้านคน แต่

มีอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสูงถึง 1 หมื่นล้านสิ่ง และมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

Web 3.0 จะสร้างการ

เปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นอย่างมากมาย สิ่งที่เราเห็นว่าเริ่มมีการทดลองใช้ในช่วง web 2.0 จะกลายมาเป็นสิ่งปกติใน

ชีวิตประจาวัน เช่น Metaverse , Blockchain เป็นต้น ที่สาคัญ คนจะได้สัมผัสถึงประสบการณ์ใหม่ที่ออกแบบ

เฉพาะตัว เพราะ ข้อมูลมากมายมหาศาลจะถูกรวบรวมและวิเคราะห์โดย Machine learning เพื่อนาไปออกแบบ

สินค้าและบริการใหม่ จนทาให้บางครั้งเรารู้สึกสงสัยว่า ทาไมโลกทุกอย่างรู้ไปหมดว่าเราคิดอะไรและอยากได้อะไร

ความเชื่อมโยงแบบไร้ขีดจากัดที่กล่าวมา จึงกลายเป็นแนวคิดหลักของงาน Thailand HR Tech 2023 ที่ว่า Everything, Everywhere Augmented ซึ่งเราได้เห็นปรากฏการณ์ต่างๆ มากมายกิดขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเปลี่ยนชีวิตให้เข้ากับ ความปกติใหม่ ( New Normal) ทั่วทั้งโลก

Everything Everywhere Augmented

โลกใหม่สร้างความท้าทายในหลากหลายมิติ

เพื่อให้พวกเราได้เห็นภาพโลกใหม่ว่าไม่ใช่สิ่งที่เป็นแนวคิด ไกลตัว หรือเป็นทฤษฏีที่รอการพิสูจน์ ทัสเลือกนาเหตุการณ์ที่เกิดจริง ในช่วงปีที่ผ่านมามาเล่าให้เราฟัง

เรื่องแรก เป็นเรื่องของเด็กระดับสติปัญญาสูง อย่าง “ แซม แบงแมน - ฟรายด์ ” ( Samuel Benjamin Bankman-Fried) ซึ่งเรียนจบฟิสิกส์จาก MIT คุณพ่อคุณแม่เป็นอาจารย์สอน กฏหมายที่มหาวิทยาลัยแสตนฟอร์ด แซมใช้เวลาช่วง 2-3 ปีแรก ของการทางาน หาประสบการณ์ในบริษัทซื้อขายหลักทรัพย์ จนเห็น ช่องว่างที่เกิดขึ้นจากการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล และใช้ความรู้ ตลอดจนประสบการณ์ที่มีเข้าไปทาธุรกิจ ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ที่คนยัง ไม่มีความรู้ความเข้าใจมากนัก ทาให้แซมสามารถสร้างธุรกิจที่มี รายได้มหาศาลกว่า 1.6 หมื่นล้านเหรียญ ภายใน 3-4 ปี ไม่มีใคร ทราบว่ามีอะไรซ่อนอยู่ภายใต้ภาพความสาเร็จอันสวยหรู จนวัน หนึ่งโลกก็ตื่นตระหนกว่าการบริหารธุรกิจของแซมคือหายนะ เพราะไม่ใช่เพียงไม่มีความรู้ด้านการบริหารพอเพียง แต่ยังขาดทั้ง ความรับผิดชอบและจริยธรรมในการดาเนินธุรกิจ ส่งผลให้ ทรัพย์ จานวนมหาศาลที่หามาได้ หมดสิ้นไปในพริบตา ซายังมีคดีฟ้องร้อง ติดตามมาอีกหลายเรื่อง ความเสียหายไม่ได้เกิดเฉพาะกับตัวแซม แ ต่ มี ค น จา น วน ม า กที่ไ ด้ รับ ผลกระท บ สิ่งที่เกิดขึ้นสะท้อนให้เห็นว่า เทคโนโลยีคือดาบสองคม ในขณะที่เทคโนโลยีเป็นส่วนสาคัญในการสร้างวิทยาการ ใหม่ๆ แต่ก็จะทาให้ผู้ที่คิดฉวยโอกาสแสวงหาประโยชน์ จากความรู้ไม่เท่าทันของผู้อื่น เพื่อสร้างความมั่งคั่ง ให้กับตนเองขาดจิตสานึกและความรับผิดชอบ ดังเช่นทุก วันนี้ที่ เราเห็นข่าวการแพร่กระจายของการพนัน ออนไลน์ มิจฉาชีพคอลเซ็นเตอร์ หรือแม้แต่การตกเป็น ลูกหนี้นอกระบบของคนจานวนมากที่ต้องการรวยทาง ลัดจากการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลโดยที่ตนเองยังไม่มี ความรู้พอที่จะตัดสินใจ

Illustration : Whalehunting.com

The first Twitter- fuelled bank run ’ : how social media

compounded SVB ’ s collapse

เรื่องที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อสองเดือนที่ผ่านมานี้ ที่ซิลิคอนวัลเลย์ กับ SVB Bank ซึ่งเป็นสถาบันการเงินที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว คือ เป็นแหล่งปล่อยเงินทุนที่สาคัญให้กับสตาร์ทอัพ แม้ว่าการบริหาร SVB Bank มีประเด็นให้พูดถึงหลายเรื่อง เช่น บอร์ดบริหาร

ส่วนใหญ่เป็นผู้บริหารจากสตาร์ทอัพที่ประสบความสาเร็จ แต่อาจขาดประสบการการณ์ทางการเงิน แต่การบริหารที่ผ่านมาโดยรวมก็ยังไม่

พบเรื่องที่ไม่ถูกต้องซึ่งผลเสียรุนแรง เพียงแต่ SVB Bank มีนโยบายสร้างรายได้โดยการนาเงินฝากไปซื้อพันธบัตรรัฐบาล และในช่วงที่

การเงินของสหรัฐอเมิรกามีความผันผวนสูง นโยบายดังกล่าวทาให้ผู้ฝากเงินมีความกังวล ซึ่งขยายวงไปเร็วมากผ่านแรงกระเพื่อมของ

โซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค จนสถาบันการเงินแห่งนี้ประสบปัญหาสภาพคล่องอย่างรุนแรง

เรื่องนี้สะท้อนพลังของเครือข่ายทางสังคมได้อย่างชัดเจนว่ามีความรุนแรงจนสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลง ได้ในเวลาที่รวดเร็ว สื่อต่างประเทศระบุว่า SVB Bank จะเป็นสถาบันการเงินแห่งแรกที่ล้มเพราะแรงกระพือ จากทวิตเตอร์ และแน่นอนว่าจะไม่ใช่จบแค่ SVB รายเดียวเท่านั้น

เรื่องที่ 3 เป็นเรื่องเกี่ยวกับ soft power ซึ่งมีการพูดถึงมากในประเทศไทย ว่าเรามีต้นทุนทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ที่สามารถเพิ่มคุณค่าทางเศรษฐกิจได้ ดังที่เกาหลีใต้ทาให้เห็นเป็นตัวอย่างมาแล้ว และหนึ่งใน soft power ที่พูดถึงใน ยุคนี้ก็คือ รสนิยมการแสดงออกของชายที่มีต่อผู้ชายด้วยกัน หรือที่เราเรียกว่า สาววาย ( boy ’ s love) อันมีต้นกาเนิด จากการ์ตูนญี่ปุ่นซึ่งรู้จักกันในชื่อ Yaoi ( ยา - โอย ) แม้มีต้นกาเนิดที่ญี่ปุ่นแต่ประเทศไทยทาให้ตัวละครแนววาย มีตัวตน จริง จับต้องได้ จนมีการผลิตคอนเทน์แนวนี้ออกมาจานวนมาก และแตกแขนงไปเป็นธุรกิจรูปแบบต่างๆ สร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจได้กว่าหนึ่งพันล้านในปัจจุบัน แม้ว่าสิ่งนี้เป็นเรื่องใหม่ที่ยังไม่มีข้อสรุป แต่ก็มีการตั้งข้อสังเกตอย่างกว้างขวางว่า แฟนคลับของ สาววายไม่ใช่ LBGTQ แต่เป็นผู้หญิงโดยทั่วไป ซึ่งทัสเชื่อมโยงปรากฏการณ์ดังกล่าวเข้ากับ การ เติบโตและขยายตัวของกลุ่มเจเนอเรชั่นใหม่ ( Gen Z) ที่เริ่มกลายมาเป็นผู้บริโภคกลุ่มสาคัญใน สังคม โดยอัตลักษณ์ที่สาคัญของกลุ่มเจนนี้ คือความคิดอิสระ ไม่ชอบการขีดกรอบให้เลือก เพราะเชื่อว่าทางเลือกในโลกเป็นไปได้หลากหลายและไม่ควรถูกกาหนดด้วยกรอบเดิมๆ สิ่งนี้มี ผลต่อองค์กรโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การหันกลับมาทบทวนนโยบาย แนวปฏิบัติที่ใช้มาแต่เดิมว่า ทันสมัยและรองรับกับมโนคติและแนวคิดที่เปลี่ยนแปลงไปในสังคมได้หรือไม่

PayPall to lay off 2,000 employee, 7% of workforce

News Corp. announces its will cut 1,250 position this year

Yahoo to lay off 20% of staff by year-end

Meta is on track to cut about 21,000 jobs

Spotify : cut 6% of the workforce

Verily- part of Alphabet : reportedly cut 15% of worker

Intel to cut employee salaries by up to 25%, likely to avoid mass layoff

Amazon : cut 18,000 employee

Saleforce : plan to cut 10% of its staff

Zoom cut 1,300 jobs and now sack its president

Clubhouse is laying off more than half of its workforce

Twitter cut 50% of workforce and still continues to aggressively laying off

มุมที่น่าสนใจอันเนื่องจากข่าวเหล่านี้ก็คือ ในช่วงก่อนหน้านี้ Gig Worker เป็นกระแสขาขึ้นที่นักวิชาการ และนักธุรกิจต่าง พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า จานวน Gig Worker จะขยายตัวและมีสัดส่วนแซงหน้าพนักงานประจาในอีกไม่กี่ปีข้างหน้านี้ แต่ เพียงเวลาไม่นาน Gig worker ต่างเปลี่ยนความคิดแบบ 360 องศา ในช่วงการระบาดของโควิด โดยเริ่มแสวงหาความ มั่นคงจากงานประจาที่มีรายได้แน่นอน และเมื่อได้เข้าไปทางานกับองค์กรเหล่านี้ได้ไม่นาน ก็ถูกเลย์ออฟอีกแล้ว สิ่งที่ เกิดขึ้นทาให้หลายๆ คนปรับตัวไม่ทัน กระทบจิตใจ และกระทบครอบครัวเป็นทอดๆ เรื่องที่ 4 คือเรื่องที่สะท้อนให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงในระดับ ดิสรับต์ชั่น นั้น เกิดบ่อยและเกิดถี่กว่ายุคก่อนมาก ในอดีต การเปลี่ยนผ่านจากยุค เครื่องจักรไอนา ยุคไฟฟ้า ยุคอีเลคโทรนิค มาสู่ยุคดอทคอม จะมีช่วงเวลาระหว่างแต่ละช่วงค่อนข้างนานเป็นทศวรรษ หลังยุคดอทคอม เราได้เห็น ธุรกิจในกลุ่ม Tech และ Platform เติบโตขยายตัวอย่างต่อเนื่องด้วยมูลค่าบริษัทที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล แต่ในช่วงเวลาไม่ปีที่ผ่านมา เราเริ่มเห็น ข่าวองค์กรในกลุ่มนี้ เช่น อเมซอน ไมโครซอฟท์ เซลส์ฟอร์ซ เฟซบุก ต่างออกนโยบายในการลดพนักงานจานวนมาก ส่วนหนึ่งอาจเป็นปัญหาจาก ผลประกอบการที่แย่ลงอันเป็นผลจากเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา แต่หลายแห่งก็เลย์ออฟด้วยเหตุผลการเพิ่มประสิทธิภาพการทางานโดยการนา เครื่องจักร หรือ AI มาใช้ หรือไม่ก็เป็นการลดเพื่อเตรียมตัวให้พร้อมสาหรับเทรนด์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

บทเรียนสาหรับ HR ในเรื่องนี้ก็คือ การทางานในปัจจุบัน แต่ละองค์กรอาจจะต้องคิดและกาหนดแนวทางที่ เหมาะสมตามบริบทและความต้องการขององค์กรตนเอง เพราะ best practice หรือ benchmark ที่ประสบ ความสาเร็จ ณ ที่หนึ่ง หรือ ในช่วงเวลาหนึ่ง อาจไม่ใช่แนวทางที่เหมาะสมกับเรา หรือ เหมาะสมกับ ณ ช่วงเวลาในปัจจุบันได้ เรื่องที่ 5 น่าสนใจมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สาหรับผู้ฟังที่เป็น HR เพราะหลายองค์กรต่างเคยรู้สึกตื่นเต้นกับแนวคิดใหม่ ๆ ในการ บริหารคนจากบริษัท Tech ที่ประสบความสาเร็จ เช่น OKR, Desk-less office, นวัตกรรมการจัดสถานที่ทางานและสวัสดิการแปลก ใหม่ ฯลฯ แต่หลายคนอาจไม่ทราบว่า Google ได้ออกแนวปฏิบัติการประเมินผลงานใหม่ มีสาระสาคัญเปลี่ยนไปจากแนวคิดที่ใช้และ เป็นที่อ้างถึงในช่วงที่ผ่านมาอยู่มาก เช่น การเข้มงวดกับการประเมินผลสุดท้ายมากขึ้น โดยกาหนดว่าอาจจะมีคนอยู่ในกลุ่มที่ต้องทา performance improvement มากถึง 6% จากเดิมที่ปล่อยให้อิสระ ฟังดูก็คล้ายๆ กับ การกาหนดโควต้าของ Force Ranking ที่หลาย องค์กรมีความพยายามที่จะเลิกใช้ เพราะเห็นว่าเป็นแนวทางที่ไม่สร้างสรรค์ ทาลายจิตนาการ และ ความคิดเชิงนวัตกรรมใหม่ ๆ ยิ่งไป กว่านั้น ผู้บริหารกูเกิลที่อเมริการะบุว่า สิ่งแวดล้อมที่จัดให้เพื่อส่งเสริมการใช้ชีวิตและไลฟ์สไตล์อิสระ สะดวกสบายสาหรับพนักงานใน กลุ่ม Tech จะถูกลดทอนลงเพื่อควบคุมต้นทุนให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งไม่ใช่เกิดกับกูเกิลแห่งเดียวแต่กาลังเป็นกระแสที่รู้จักกัน ว่า Perk-cession ล่าสุด ในเดือนที่ผ่านมา ซีอีโอกูเกิ้ลได้ตอกยาประเด็นดังกล่าวอีกครั้ง โดยให้สัมภาษณ์ผู้สื่อข่าวว่า ในปี 2023 นี้ การโปรโมทพนักงานสู่ตาแหน่งหัวหน้างาน จะมีโควต้าที่ 2% ซึ่งต่างจากเดิมที่พิจารณาตามผลงานและความพร้อมอย่างแท้จริง

เรื่องที่ 6 เป็นข่าวการให้สัมภาษณ์ อาจารย์เศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเยล ที่แสดงความเห็นว่า

การขยายตัวของสังคมผู้สูงอายุในญี่ปุ่นเป็นอุปสรรคต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ ขัดขวาง

ความก้าวหน้าของคนรุ่นใหม่ และสร้างภาระทางสังคมที่นับวันจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ดังนั้น

ทางออกที่น่าจะช่วยได้คือ การยอมฆ่าตัวตายหมู่พร้อมกัน แม้ภายหลัง อาจารย์ท่านนี้จะอธิบาย

เพิ่มเติมว่าไม่ได้มีเจตนาจะเสนอให้ทาเช่นนั้นจริง เพียงแต่เป็นการพูดเชิงเปรียบเทียบมากว่า

Yusuke Narita, an assistant professor of economics at Yale,

อย่างไรก็ตาม เรื่องนี้ได้สะท้อนถึงโลกใหม่ที่ ความคิดของคนในสังคมจะแยกออกเป็น สองขั้ว (polarized society) อย่างเด่นชัดและรุนแรงมากขึ้น อันจะทาให้สังคม รวมถึงสิ่งที่เกิดในองค์กร มีความเปราะบาง และ เกิดความแตกแยกได้ง่าย

'I feel like the only solution is pretty clear,' he said at the time. In the end, isn't it mass suicide and mass 'seppuku' of the elderly?'

Illustration : Japan Times

Illustration : cartooning for peace

การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุนั้น กาลังเป็นปัญหาของประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ เช่น การประท้วง

ครั้งใหญ่ในฝรั่งเศส อันเนื่องจากการที่รัฐบาลได้ขยายอายุเกษียณจาก 62 เป็น 64 ปี และส่อเค้าว่าจะ กลายเป็นความรุนแรงที่ยืดเยื้อ ประเด็นผู้สูงอายุเป็นปัญหาใหญ่สาหรับประเทศไทยเช่นกัน ไทยอาจแตกต่างจากสังคมผู้สูงอายุอื่นๆ เพราะเราแก่ในขณะที่ยังไม่รวย ซึ่งเรื่องนี้จะ ทวีความรุนแรงและส่งผลกระทบในหลากหลายมิติเพิ่มมากขึ้นทุกที

Age +65

2100

2019

Source : United nation, 2022

ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว และจะเข้าสู่ Super aging society* ภายในปี 2578 * 30% ของประชากรอยู่ในวัยผู้สูงอายุ

50

Thailand

Global average = 30

Vietnam

40

Indonesia

Philippine

30

2021

38.8

อายุเฉลี่ย

1950

2021

2050

1990

Global average = 72.27

80

Thailand

23.3

Vietnam

70

Indonesia Philippine

60

1950

17.5

2021

1950

Source : United nation, 2022

เรื่องสุดท้ายที่ทัสนามาเล่าให้ฟัง เกิดเมื่อไม่กี่วันมานี้ โดยมีข่าวว่า แอปเปิล มีนโยบายที่จะจ่ายดอกเบี้ยให้ลูกค้าผู้มีเงินอยู้ใน

บัญชีแอปเปิ้ล ซึ่งแม้ทางแอปเปิ้ลเองจะระบุว่า เรื่องนี้ทาเพื่อสนับสนุนระบบนิเวศน์ทางการเงิน

( Financial Ecosystem)

ของบริษัท ไม่ได้มีความตั้งใจจะดิสรับต์สถาบันการเงินแต่อย่างใด แต่นักวิเคราะห์หลายคนก็มองว่า นี่อาจเป็นจุดเริ่มต้น

ของการดิสรับต์สถาบันการเงินในอนาคตอันใกล้

สิ่งที่เกิดขึ้นคือตัวอย่างล่าสุดที่เตือนพวกเราว่า ไม่มีธุรกิจใดในโลกที่อยู่รอดปลอดภัย เพราะเราทุกคนจะ ถูกดิสรับต์ได้ทั้งนั้น จาก Established company ที่อยู่ในธุรกิจเรา หรือธุรกิจอื่น และ จาก สตาร์ทอัพ ที่ มีความชานาญในธุรกิจเรา หรือมากจากธุรกิจอื่น ดังนั้น องค์กรจึงควรเตรียมสร้างขีดความสามารถ เพื่อให้พร้อมรับมืออยู่ตลอดเวลา

การขยายตัวของธุรกิจไม่ได้จากัดอยู่แต่เพียงการควบรวมและแตกธุรกิจ

Co A

การขยายตัวทางธุรกิจ แต่เดิมมีรูปแบบซึ่งเป็นที่นิยมอยู่ไม่มาก เช่น การควบรวมกิจการภายในธุรกิจเดียวหรือใกล้เคียงกัน หรือการเข้าไปซื้อ

กิจการบริษัทซึ่งอยู่ในห่วงโซ่การผลิดทั้งต้นนา และ ปลายนา ตลอดจนการแตกหน่วยย่อยภายในองค์กรออกเป็นบริษัทใหม่ ซึ่งอาจจะเป็นธุรกิจ

ที่แตกต่างจากธุรกิจหลักเดิมไปสู่ธุรกิจใหม่

ในโลกปัจจุบัน การขยายธุรกิจใหม่เป็นไปได้หลากหลายรูปแบบ ไม่จากัดแต่แนวทางเดิมที่เคยทาอยู่ แต่ยังสามารถใช้ประโยชน์จากแนวความคิด

หรือ การทาธุรกิจรูปแบบใหม่ซึ่งริเริ่มโดย สตาร์ทอัพ อาจเริ่มจากสิ่งเล็กๆ ที่ไม่ใหญ่มากและค่อยขยายใหญ่ขึ้นเมื่อได้ผลเป็นที่น่าพอใจ

นิยามการทาธุรกิจในยุคใหม่จึงเป็นการทาธุรกิจที่พลิกจากเดิมหน้ามือเป็นหลังมือ คู่ค้าที่เคยเป็นซัพพลายเอร์หรือลูกค้า ในอดีต อาจกลายมาเป็นคู่แข่งได้ ในขณะเดียวกัน คู่แข่งทางธุรกิจในอดีต อาจกลายมาเป็นพันธมิตรได้เช่นเดียวกัน

ฟิลลิปส์เปลี่ยนรูปแบบการทาธุรกิจโดยสิ้นเชิง ด้วยการใช้จุด แข็งด้าน medical-device technologies ที่มีอยู่เดิมมาใช้ ร่วมกับ customer insight และขยายไลน์ธุรกิจไปในส่วน การป้องกัน และ การดูแลหลังการรักษาเพิ่มมากขึ้น จนใน ปัจจุบัน บริษัทอายุ 132 ปีที่เติบโตจากหลอดไฟฟ้า ไม่มีสินค้า ใดๆ ที่เกี่ยวกับเครื่องใช้ไฟฟ้าในโมเดลธุรกิจแต่อย่างใด

3.9*

Billion EURO

19.3

18.1

Home care

Treatment

Exiting business

2009

2022

*2021 Sold off domestic appliance business

Diagnosis

% of total revenue

Diagnose & Treatment

21

Prevention

30

38

Lighting

41

10

Personal health

17

19

TV/LE

18

Healthy living

Connected care & health information

Using AI to identify potential loaner

FamiPay

Do not require collateral or a co-signer,

30 mio transactions annually

Applications can be submitted at any time.

can potentially borrow up to $21,000,

0.8% and 18% interest rate

Payment terms of up to 10 years

Family Mart ซึ่งเป็นธุรกิจค้าปลีก มีสาขาเป็นร้าน

USD 21 bio. Payment made

สะดวกซื้อจานวนมากกว่า 50,000 สาขา ในประเทศ

ญี่ปุ่น ได้ นา AI มาวิเคราะห์ข้อมูลจากการทาธุรกรรมผ่าน

แคชเชียร์ 30 กว่าล้านรายการต่อปี เพื่อพิจารณาว่า

ลูกค้าคนใดมีเครดิตดี และเสนอเงินกู้ให้คนเหล่านั้นใน

วงเงินสูงสุดถึง 750,000 บาทโดยไม่ต้องมีผู้คาประกัน

50,000 locations across japan

Source : Nikkei Asia, 2022

คุณลักษณะ 8 ประการ ของโลกใหม่

Trust redefined รูปแบบความไว้เนื้อเชื่อใจจะเปลี่ยนไป แหล่งข้อมุลที่มีอิทธิพลกับความเชื่อเปลี่ยนรูป ไปจากเดิม ซึ่งคนเคยให้ความเชื่อถือแหล่งข่าวทางการ เช่นสานักข่าว หน่วยงานราชการ แต่ปัจจุบันคน

1

จะเชื่อ micro influencer หรือ Key opinion leader มากกว่า

Quantified moment ทุกสิ่งที่ทาจะถูกรวบรวมและวิเคราะห์ได้ทั้งสิ้น คนในโลกใหม่อยู่กับเทคโนโลยีที่ทาให้ ทุกความเคลื่อนไหวล้วนสร้างและทิ้งร่องร่อย ( digital foot print) ซึ่งสามารถนามาวิเคราะห์ได้ ตัวอย่าง เทคโนโลยีที่มีราคาถูกแต่มีประสิทธิภาพมากได้แก่ Mobile, Sensor, Analytic อันเป็นหัวใจสาคัญ ที่ องค์กรต่างๆ ใช้เพื่อประสบการณ์เฉพาะตัว ( personalized experience) ให้กับลูกค้า ความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีทาให้ การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ หรือ ข้อมูลที่ไม่ได้มีการจัดให้อยู่ในรูป แถวและสดมภ์ อย่างข้อมูลในโปรแกรม excel หรือที่เรียกว่าข้อมูลแบบไม่มีโครงสร้าง unstructured data สามารถท า ได้รวดเร็วและสะดวกขึ้น Hidden world โลกที่มีมากกว่าหนึ่งใบ ในเร็วๆ นี้ อุปกรณ์ที่ใส่ ( wearable) เพื่อเชื่อมโลกอาจเป็นอุปกรณ์หลัก ของขีวิต เพราะทุกคนจะมีชีวิตทั้งในโลกกายภาพและโลกเสมือนตลอดเวลา ครั้งหนึ่งเราเคยฮือฮากับการจับ โปเกมอนในสถานที่ต่างๆ อันนั้นคือ Augmented Reality รุ่นแรกที่นามาใช้กับ gamification เพื่อเชื่อมโยง โลกปัจจุบันกับโลกเสมือน ในอนาคตเราไม่รู้หรอกว่าเราอยู่ในโลกใบไหน อยู่ในโลกจริงหรือโลกเสมือน อย่า คิดว่าสิ่งเหล่านี้ไกลตัว เพราะพนักงานต่างคุ้นเคยและใช้สิ่งเหล่านี้ผ่านการบริโภคสินค้าและบริการใน ชีวิตประจาวันกันอยุ่แล้ว ซึ่งในที่สุดพนักงานก็จะคาดหวังว่าองค์กรจะนาสิ่งเหล่านี้มาใช้ในองค์กรบ้างเช่นกัน สิ่งเดิมที่พนักงานเคยพอใจ เพราะผล engagement survey ก็สูงมาโดยตลอด แต่มาในปีนี้ พนักงานไม่ พอใจเรื่องเดิม นั่นเป็นเพราะว่าความต้องการของพนักงานได้เปลี่ยนแปลงไป Purposeful life เจตนารมที่สอดคล้องกัน เงิน ค่าตอบแทนจะไม่ใช่ปัจจัยอย่างเดียวที่ดึงดูดและรักษาพนักงานไว้ได้ เพราะชีวิตไม่ได้แบ่งเป็น งาน และ ส่วนตัว ที่เราจะสร้างสมดุลย์แบบแยกส่วนกันได้ แต่ ทั้งสองเรื่องผสมผสาน เชื่อมโยงกันจนแยกไม่ออก โลกใหม่จึงเปลี่ยนจาก work-life balance มาเป็น work-life integration เรา คาดหวังว่าเจตจานงของบริษัทที่เราทางานด้วยจะสอดคล้องกับเจตจานง และความหมายในชิวิตของเรา ปัจจุบัน ไม่ใช่แค่ไปใช้ชีวิตในองค์กรแล้วกลับมาอยู่ในโลกส่วนตัวที่บ้าน พนักงานต้องการให้โลกในชีวิตกับโลกในองค์กร เป็นโลกเดียวกัน ถ้าไปทางานในองค์กรที่ขัดกับความเชื่อ จะมีความรู้สึกไม่สบายใจ

2

3

4

Real time of everything โลกที่เชื่อมตลอด 24/7 เรากาลังพูดถึงประสิทธิภาพในการเข้าถึงสัญญาณอินเทอร์เน็ตแบบเร็ว แรงติดจรวด จริงๆ มันไม่ใช่แค่ช่วยทาให้เราสามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้เร็วขึ้น เพราะในทางทฤษฎี 5 G จะมี ส่วนลดช่องว่างของคนในสังคม ไม่ว่าจะเป็นการศึกษา ธุรกิจ ความสะดวกสบาย ฯลฯ คนที่อยู่ต่างจังหวัด ไม่ว่าที่ไหนก็ สามารถเข้าถึงการศึกษา สามารถใช้จ่าย สามารถสร้างตลาดโอทอปในต่างประเทศได้โดยไม่ ต้องอพยพย้ายถิ่นเข้ามาในเมืองหรือกรุงเทพฯ การเกิดขึ้นของ 5 G และ web 3.0 มีส่วนสาคัญที่จะ ยกระดับ HR ให้ดีขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการคัดเลือก สรรหา อบรม สร้างความผูกพัน และอื่นๆ ในทุกมิติ Asymmetry of opportunities โอกาสที่ไม่เท่าเทียมกัน ยิ่งเทคโนโลยีมีความก้าวหน้าขึ้นสิ่งที่เกิดในชีวิตจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในบริบทของประเทศไทยอาจไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์ในทางทฤษฎีเพราะสังคมยังมีความไม่เท่าเทียมกัน ทั้งทางด้านเศรษกิจ การศึกษา เครือข่าย สถานะทางสังคม ดังนั้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโยลีอาจส่งผล ต่อความสงบ และ เสถียรภาพของประเทศได้ เพราะ ความไม่เท่าเทียมจะถูกถ่างให้กว้างมากขึ้น

5

6

Polarized ideology ความคิดสองขั้ว โอกาสที่ไม่เท่าเทียมกัน ทาให้สังคมมีความเปราะบางและมีแนวโน้มจะเกิดความ รุนแรงและเผชิญหน้าได้ทุกขณะ ช่องว่างระว่างความคิดจะกว้างมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะทัศนคติต่อการใช้ ชีวิตของคนแต่ละช่วงวัยแตกต่างกัน คนในเจน Z จะมีอิทธิพลในการนาแนวคิดใหม่มาสู่ที่ทางาน เพราะ จานวนคนกลุ่มนี้ในวัยทางานจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ

7

Unexpected expectation ความเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง และถึ่มากขึ้น ในโลกปัจจุบัน การเกิดขึ้นของปรากฏการณ์ที่ ไม่เคยเกิด ( black swan) จะอุบัติถึ่ขึ้น และในแต่ละครั้งจะส่งผลกระทบที่คาดเดาได้ยากอย่างรุนแรง ดังนั้นองค์กรควรเตรียมตัวให้พร้อม ซึ่งเราจะได้ยินคาว่า Resilient, Agile, Scalable อยู่บ่อยๆ ในช่วง เวลาที่ผ่านมา

8

รู้จักใช้ประโยชน์ของการเชื่อมโยงและ การเชื่อมต่อของโลกใหม่

ทัส เริ่มต้นอธิบายความหมายของ

Theme งาน Thailand HR Tech จากความหมายที่ได้บัญญัติไว้โดยทั่วไป

คือการนาสองสิ่งมาเชื่อมต่อหรือใช้ร่วมกันเพื่อสร้างผลกระทบที่มากกว่าการใช้สิ่งนั้นเพียงลาพัง ในนัยที่เรามักเข้าใจกัน ก็คือ การเชื่อมโยงระหว่าง คนกับเครื่องจักร แต่ในความคิดของทัส มองว่า การ เชื่อมต่อในโลกปัจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ เช่น คน ( human) เชื่อมต่อกับ เครื่องจักรร ( machine) จะสร้าง แรงงานที่มีฉลาด มีขีดความสามารถสูง ( Smart workforce) สถานที่กายภาพ ( physical) เชื่อมต่อกับ โลกเสมือน ( virtual) จะสร้างสถานที่ทางานที่ผสมผสาน ( hybrid workplace) ข้อมุลอดีต ( historical data) เชื่อมต่อกับ การพยากรณ์ในอนาคต ( predictive model) จะยกระดับการ ตัดสินใจให้อยู่บนพื้นฐานการวิเคราะห์ข้อมูล ( data-driven decision making) หรือแม้แต่ การเชื่อมโยง โลกในที่ทางาน ( Work) เชื่อต่อกับ โลกส่วนตัว ( Life) จะทาให้เกิดแนวคิดการ สร้างความเป็นอยู่ที่ดีแบบองค์รวม ( Holistic well-being) เป็นต้น การเชื่อมต่อที่เหมาะสมจะเป็นส่วนสาคัญในการยกระดับขีดความสามารถขององค์กรและ ส่งเสริมให้พนักงานบรรลุเจตจานงของขีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Augment

คือ การเชื่อมโยง การเข้าถึง

Connect

โดยทั่วไปมักจะนึกถึงการติดต่อ ปฏิสัมพันธ์ของ คนในหลายๆ รูปแบบ เช่น 1 to 1, 1 to Many หรือ Many

to Many แต่ในความคิดของทัส การเชื่อมโยงนั้นยังรวมถึง การเชื่อมโยงระหว่าง คนในองค์กรทุกส่วน

( across organization silo) และ การเชื่อมโยง บุคลากรในองค์กร กับผู้มีส่วนได้เสียภายนอกองค์กร ซึ่งใน

สมัยใหม่ เราจะเรียกรวมเป็น ระบบนิเวศน์ ( Business ecosystem)

การเชื่อมโยงที่เหมาะสมจะมีส่วนในการสร้างพลังจากความร่วมมือ ( collaboration) ซึ่งสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่ไม่เคยเป็นไปได้ในอดีต เพราะความเชื่อมโยงมี ส่วนสาคัญที่ก่อให้เกิดการพลิกขั้วของอานาจการต่อรองของกลุ่มต่างๆ ที่เคยมี ความสัมพันธ์แบบ ผู้นาและผู้ตามให้มีขั้วอานาจที่กลับข้าง เช่นครู - นักเรียน , หัวหน้างาน - ลูกน้อง , นายจ้าง - ลูกจ้าง , รัฐ - ประชาชน , หมอ - คนไข้ เป็นต้น

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคือจุดกาเนิดของการเปลี่ยนแปลงทุกสรรสิ่ง

ทฤษฎีกฏของมัวร์ที่ อธิบายถึง ปริมาณทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม ซึ่งจะเพิ่มเป็นเท่าตัวทุก ๆ สองปี สะท้อนให้เห็นถึงความก้าวหน้าทาง

เทคโนโลยีที่มีอัตราทวีคูณ จนความเร็วที่เกิดขึ้นนั้นเกิดเร็วกว่ากฏที่มัวร์เคยกล่าวไว้ คุณลักษณะเฉพาะตัวของเทคโนโลยี คือการ นาเทคโนโลยีหลายสิ่งมาใช้ร่วมกัน ทาให้เกิดความสามารถใหม่ที่มากกว่าตัวมันเอง ( combinatorial effect) และที่สาคัญ ยิ่งเทคโนโลยีมีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่าใด จะมีราคาถูกลงมากขึ้นเท่านั้น ยกตัวอย่างโทรศัพท์มือถือ สเปคเดียวกัน ซึ่งเราซื้อได้ในราคา 3 พันบาท แต่เราอาจต้องจ่าย 3 หมื่นบาทเมื่อสามปีก่อนเป็นต้น

Mobile phone

100

2023

3,995

1982

Per Unit

Bandwidth

0.14

2023

1,245

1999

Per 1,000 mbps

Drone

339

2023

100,000

2007

Per unit

DNA sequencing

>0.01

2023

5,293

2001

Per million base pair

Solar

0.06

2023

38

1984

Per KWH.

Artificial intelligence IIoT, Smart Machine Big data, Analytic Web 2.0 Cloud, Mobile

Source : World Economic Forum, 2020

Web 1.0 e-commerce

Client servers, PC

Quantum

Mainframe

2020

1950

10

2030

60

70

80

90

2000

IoT tipping point

1440-1900

2020

1900-1950 1950-1970

1980-2000

1970-1980

2017

Knowledge doubled in

10 years

8 years

400 years

50 years

20 years

13 months

12 hours

Industrial Revolution

Source : IBM, 2020

Post Information age

Information age

ข้อมูล และ แพลทฟอร์มโซเชียลคือผลแห่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี

Twitter

สิ่งที่เป็นผลต่อเนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก็คือ การเพิ่มจานวนและ การบริโภคข้อมูลที่มีอัตราเร่งทวีคูณ ซึ่งไอบีเอ็มเคยเสนอผลวิจัยพบว่า สมัยก่อนปี 1800 เราต้องใช้เวลา 400 ปีปริมาณความรู้จึงจะขยายเพิ่มขึ้น เท่าตัว แต่ปัจจุบันใช้ เวลาเพียงแค่ 12 ชั่วโมง ปัญหาคือ เรารู้ไหมว่าข้อมูลอัน ไหนจริง หรือไม่จริง อะไรเป็น misinformation อะไรเป็น Fake information ถ้าหารกเรานาข้อมูล fake ไปทางาน จนเกิดผลกระทบในวง กว้างก็จะสร้างตามมาอีกมากมาย ที่แย่ไปกว่านั้น อาจมีบางคนที่ตั้งใจนาข้อมูล เหล่านั้นมาใช้เพื่อให้เกิดความเข้าใจผิด ขาดความรับผิดชอบ ไร้จิตสานึก จนมี ผู้ตกเป็นเหยื่อจากพฤติกรรมดังกล่าวจานวนมาก นั่นคือเหรียญอีกด้านหนึ่ง ของข้อมูลที่เราควรทราบ เทคโนโลยีก้าวหน้ารวดเร็วในหลายเรื่อง อย่างทวิตเตอร์เคยใช้ได้แค่ 140 ตัวอักษร ส่งข้อความได้อย่างเดียว แต่วันนี้ใช้ได้ทุกรูปแบบ คลิปวิดีโอปี 2020 มีความละเอียดตามาก ปัจจุบันคลิปวิดีโอสามารถแชร์ได้ แต่งแอนิ เมชั่นได้ ตัดต่อได้ คนใช้เทคโนโลยีง่ายขึ้น มีคุณภาพมากขึ้น เราต้องรู้ว่า เทคโนโลยีอะไรที่เหมาะกับเรา ความก้าวหน้าเหล่านี้ได้สร้างให้เกิดการรวมตัว และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารผ่านเครือข่ายทางสังคมที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว และทรงพลัง อย่างไรก็ตาม พฤติกรรมการบริโภคและการใช้เครือข่ายทาง สังคมก็ปรับเปลี่ยนรูปแบบไปตลอดเวลา ดังจะเห็นได้จากความนิยมของ เครือข่ายทางสังคมทีเคยเป็นที่ชื่นขอบในช่วงหลายปีที่ผ่านมาก เสื่อมความนิยม ลง และมีแพลตฟอร์มใหม่ๆ เกิดขึ้นมารองรับอย่างต่อเนื่อง เรื่องนี้มีความสาคัญกับการทางานของ HR เช่น เวลาเราจะทา แอปให้พนักงานใช้ กว่าจะคิดจะทา อาจให้เวลานาน พฤติกรรม ของคนในการใช้แอปจะเปลี่ยนไป แต่ก่อนคนใช้ Facebook แต่ ตอนนี้อัตราการใช้เฟซบุกตกลงและติ๊กตอกได้รับความนิยม มากขึ้น แต่ ถ้าคิดจะทาหลักสูตรผ่าน Tiktok อาจไม่ทันแล้วก็ ได้ เพราะพฤติกรรมของคนเปลี่ยนไปเร็ว ดังนั้นเวลาคิดทาอะไร อย่าไปตามกระแส ต้องรู้ก่อนว่าอะไรเหมาะกับเรา

Video

Source : Visual Capitalism, 2022

การปรับโครงสร้างทางด้านประชากรศาสตร์ ระบบนิเวศน์ที่เสื่อมโทรมคือ ปัจจัยร่วม และมีโควิดเป็นตัวเร่ง การเปลี่ยนแปลง

Social Connection

Technological Advancement

Demographic & Social Shift

Exponential growth of Data

นอกเหนือจากเทคโนโลยี ข้อมูล และเกิดของเครือข่ายทางสังคม ปัจจัยที่มีส่วนสร้างการเปลี่ยนแปลงอีกสองอย่างคือ การปรับเปลี่ยน ทางด้านประชากรศาสตร์ในทุกมิติ เช่น อายุ ทัศนคติ ความหลากหลาย ร่วมกับความรุนแรงของภัยธรรมชาติอันเกิดจากปัญหาที่สะสม ของระบบนิเวศน์ที่มีความเสื่อมโทรมมากขึ้น จนส่งผลต่อธุรกิจเฉพาะอย่างยิ่งความท้าทายในการบริหาร ห่วงโซ่อุปทาน เพราะฉะนั้นการ พูดถึงโลกร้อน จึงไม่ใช่แค่ความรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ว่าจะเป็น SD, CSR หรือ ESG แต่บริษัทจาเป็นต้องทาเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจ ทั้งหมดที่กล่าวมาถูกซ้าเติมด้วยการระบาดของโควิดทั่วโลกที่ทาให้พฤติกรรมมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง โดยเฉพาะการเปิดรับดิจิทัลเทคโนโลยีเร็วขึ้นกว่าที่คาดการณ์ไว้ 5-7 ปี

ระดับความสามารถในการรับเทคโนโลยีมีความแตกต่างกันส่งผลกระทบ ต่อปัจเจกชน ภาคธุรกิจ และ ภาครัฐ ทัสได้ใช้แนวคิดของ Deliotte เพื่ออธิบายประเด็นความท้าทายในปัจจุบัน ซึ่งแนวคิดดังกล่าวพูดถึง ขีดความสามารถในการรับเทคโนโลยีของแต่ ละกลุ่มซึ่งมีระดับที่แตกต่างกัน โดยเป็นที่ทราบกันดีว่า เทคโนโลยีมีการพัฒนาก้าวไปข้างหน้าตลอดเวลา กลุ่มปัจเจกชน หรือคนทั่วไปจะติดตาม เทรนด์เทคโนโลยี พร้อมเปิดรับและปรับตัวได้ด้วยความเร็วอันดับ 2 แต่ไม่ใช่กับทุกคน หากคนที่เข้าถึงได้เร็ว แต่มีเจตนาไม่ดีก็จะกลายเป็นปัญหา อาชญากรรมทางดิจิทัล เช่น แก็งคอลเซ็นเตอร์ มิจฉาชีพบัตรเครดิต เพราะมีคนที่ฉวยโอกาสจากช่องว่างนี้ ภาคธุรกิจ จะปรับตัวได้เร็วเป็น อันดับสาม เพราะจาเป็นต้องปรับรูปแบบธุรกิจให้ทันกับความคิดและพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป เพื่อจะสามารถพัฒนาสินค้าและบริการให้ตรง ความต้องการ ภาคส่วนที่ช้าที่สุดคือภาครัฐ ซึ่งทาให้เกิดปัญหา การที่ภาครัฐปรับตัวได้ช้ากว่ากลุ่มอื่น ทาให้กลุ่มปัจเจกชนที่ไม่สามารปรับตัวได้อยู่ ในความเสี่ยง ไม่มีเครื่องช่วยป้องกันให้รอดพ้นจากภัยทางดิจิทัลในแบบต่างๆ ได้

Source : Deliotte, 220

แนวคิดนี้มีความสาคัญต่อการทางานของ HR เพราะ ถ้าพนักงานเข้าถึงเทคโนโลยีได้เร็ว แต่บริษัทไม่เข้าใจ หรือยังอยู่ ในช่วงการเรียนรู้และปรับตัว ก็อาจทาให้พนักงานไม่สบายใจ และเมื่อที่มีทางเลือกอื่นที่ดีกว่า ก็จะลาออกจากองค์กร ไป หรือการบูลลี่กันจากในอดีตที่เคยทาได้ แต่ปัจจุบันทาไม่ได้แล้ว ต้องมาดูว่าเทคโนโลยีที่เปลี่ยน พฤติกรรมคนเป็น อย่างไร และทาให้การทางานของ HR ต้องปรับอะไรบ้าง ”

คนในทุกเจนต่างพร้อมจะปรับตัวเพื่อความอยู่รอด

Source : Pew Research, 2022

เราไม่ควรยึดติดกับแนวคิดการจัดกลุ่มคน ตาม generational stereotyping ต่างๆ ให้มากจนเกินไป อย่ากังวลว่าคนอายุ 50-60 ปีที่ ทางานอยู่ในองค์กรจะตามเทคโนโลยีไม่ทัน เพราะทุกคนทราบดีว่าจะต้องปรับตัวให้อยู่ใน ecosystem ให้ได้ ทุกเจนไม่ว่าจะเป็น BB, X, Y, Z ต่างปรับตัว แต่อาจจะมีขีดความสามารถและความเร็วในการรับไม่เท่ากัน เช่น BB อาจจะเริ่มนิยมใช้ แทปแลท ในขณะที่ เจน X,Y, Z ใช้ น้อยลงเพราะทาทุกอย่างทางสมาร์ทโฟน หรือ BB, X, Y อาจสื่อสารผ่านไลน์ แต่คนรุ่นใหม่คุ้นกับช่องทางอื่น เช่น discord เป็นต้น เทคโนโลยีนามาซื่งโอกาส และความเสียง ธุรกิจแพลทฟอร์มอย่าง Airbnb อาจยังไม่เป็นที่รู้จัก เป็นเรื่องแปลก และไม่เป็นที่นิยมมากนักเมื่อไม่นานมานี้ แต่ความคิด ความเชื่อ ประสบการณ์ ของคนที่เปลี่ยนไปทาให้การยอมรับเกิดจากจุดเล็กและขยายตัวอย่างรวดเร็ว ซึ่ง Airbnb เป็นอีกตัวอย่างของการปรับตัวเพื่ออยู่รอดที่ดีที่สุด เพราะธุรกิจเกิดขึ้นจากเทคโนโลยี แต่ก็ถูกผลกระทบมากที่สุดจากการแพร่ระบาดของ Covid 19 แต่ด้วยการให้ความสาคัญในการสร้างขีด ความสามารถให้กับองค์กรทาให้ Airbnb สามารถผ่านพ้นวิกฤติและเติบโตได้แข็งแกร่งกว่าเดิม เพราะฉะนั้นเทคโนโลยี ทาให้เกิดโอกาส แต่ ขณะเดียวกันก็เป็นความเสี่ยง บางธุรกิจที่เราเคยรู้จักดีในอดีตเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในปัจจุบัน เช่นฟิลิปส์ที่เกิดและเติบโตจากกิจการด้าน หลอดไฟ แต่ในปัจจุบันไม่สินค้าใดๆ เกี่ยวกับหลอดไฟเหลือ เพราะขายธุรกิจเหล่านั้นออกไปทั้งหมด และหันไปโฟกัสที่ธุรกิจทางการแพทย์ แม้ธุรกิจไม่อยากโต อยากอยู่แบบนี้ แต่ก็จะถูกดิสรับต์ได้จากธุรกิจสตาร์ทอัพที่ไม่ได้มีประสบการณ์มาก่อน หรือบริษัท ที่ตั้งมานาน อาจถูกคู่ค้าดิสรัปต์ก็ได้ เพราะวันนี้การถูก ดิสรัปต์ มาจากทุกทิศทุกทาง

32

ไม่ใช่เฉพาะโลกธุรกิจที่เปลี่ยน แต่โลกในการทางานก็เปลี่ยนไปเช่นกัน

ความคาดหวังของพนักงานในโลกใหม่

Remote

Technology

Purpose

Sustainability

Integrated Life

Autonomous

Empathy

Thriving

Equity

Personalization

เมื่ออีลอน มัสก์ เข้าบริหารกิจการทวิเตอร์ ด้วยทัศนคติแบบเดิม ที่

มองคนตาม Theory X ผลสุดท้ายก็ลงเอยด้วยการที่ต้องขอร้องให้

พนักงานซึ่งเขาได้มีคาสั่งเลิกจ้างก่อนหน้านี้ให้กลับมาทางานเพื่อให้

ธุรกิจดาเนินต่อไปได้

When you perceive people as a “ cost ”

But they are actually the great “ asset ”

พนักงานกูเกิลจานวนหนึ่งลาออก และ มีจานวนมากลงชื่อประท้วงบริษัทที่เข้าไปรับทา

โครงการพัฒนาอาวุธโดยใช้เทคโนโลยีของกูเกิลให้กับ หน่วยงานทหารของสหรัฐ

อเมิรกา สิ่งที่เกิดสะท้อน ความสาคัญในการสร้างองค์กรให้มีเจตจานงที่ชัดเจน

ปัจจุบันและอนาคต

องค์กรพิจารณาแต่งตั้งผู้บริหารจากประสบการณ์ตรงใน ธุรกิจ และความสามารถที่เกี่ยวข้องกับงานโดยครง เมื่อก่อนจนถึงปัจจุบัน

องค์กรพิจารณาผู้บริหารจากซึ่งมีชุดทักษะที่สามารถปรับเปลี่ยน ตัวเองและองค์กรได้เมื่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป

French fashion house Channel has appointed Leena Nair, former Chief Human Resources Office of FMCG major Unilever, as its global CEO. Nair is a rare pick by the family controlled group that sells luxury clothing and bags. It is owned by French billionaire Alian Westheimer and his brother Gerard Wertheimer. Once Nair takes on the role in January 2022, Alian will move to the role of global executive chairman, Reuters reported. Nair will be based in London

As of Thursday, the “ Mouse House ” is elevating Tom Staggs to the role of chief operating officer after 25 years with the company and five years as head of Disney ’ s (DIS) theme parks and resorts division. Staggs, who will continue to lead the parks and resorts business until a replacement is found, previously spent 11 years as Disney ’ s chief financial officer before moving into the parks and resorts role in 2010.

งานในโลกใหม่จะแบ่งเป็น 4 กลุ่มคือ

งานที่ไม่สามารถแทนที่ ได้ด้วย AI เช่น งานใช้ ความคิดสร้างสรรค์ ความเห็นอกเห็นใจ

งานที่สร้างใหม่ อันเป็นผล มาจากการเกิดขึ้นของ AI งานตรวจสอบวิทยานิพนธ์ ว่าเขียนด้วย AI หรือไม่

งานที่คนทางานร่วมกับ AI หรือเครื่องจักรเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพดีขึ้น เช่น ตาแหน่ง prompt engineer ที่เป็นผลจาก ChatGPT

งานที่ถูกแทนที่ด้วย AI หรือ เครื่องจักร

29%

94%

26%

100%

90%

92%

การจ้างงานในปัจจุบันจะให้ความสาคัญกับ ชุดทักษะ และความสามารถมากกว่าวุฒิการศึกษา อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาตาแหน่ง งานเดียวกันซึ่งมีการเปิดรับ บางองค์กรยังให้ความสาคัญกับวุฒิการศึกษาอยู่ ด้วยเหตุผลที่ว่า การศึกษาในระบบ มีส่วนในการพัฒนา Soft Skill หรือ Human Relationship ได้ดีกว่าการเรียนรู้ทักษะต่างๆ ด้วยตนเอง

ความสาเร็จในอดีตอาจใช้แก้ปัญหาในปัจจุบันไม่ได้

ทัส พาเราสารวจโลกที่เปลี่ยนไป ตั้งแต่สิ่งที่ไกลตัวเข้ามาถึงเรื่องใกล้ตัว ตั้งแต่เรื่องการทางาน มาจนถึงการใช้ชีวิต และนาเรามาสู่บทสรุป ของ

การเสวนา เขากล่าวว่า เราทุกคนน่าจะเห็นพ้องกันว่าโลกวันนี้ไม่เหมือนเดิม ทั้งนี้ เราสามารถอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นได้ในสองแกน แกนที่หนึ่งคือ ความรุนแรงและความถึ่ของการเปลี่ยนแปลง เรามักพูดถึง VUCA , BANI เสมอเมื่ออธิบายแกนนี้

Ambiguity

Complexity

Uncertainty

Volatility

แกนที่สองคือ ความเห็นพ้องของคนที่เกี่ยวข้องโดยตรงและโดยอ้อม โซเชี่ยลเนตเวิร์ก มีอิทธิพลอย่างมากในเรื่องนี้

หาก ความเปลี่ยนแปลงต่า ความเห็นพ้องสูง เป็นสถานการณ์ที่ง่ายต่อการรับมือ เราใช้ best practice benchmark และชุด

ทักษะเดิมที่เราเคยใช้แก้ปัญหาเหล่านี้ได้ ในสถานการณ์ที่ ความเปลี่ยนแปลงต่า ความเห็นพ้องต่า เป็นสถานการณ์ที่ Complicate การแก้ปัญหาจาเป็นต้องวิเคราะห์ข้อมูล จานวนมากเพื่อสร้างการยอมรับ ในสถานการณ์ที่ ความเปลี่ยนแปลงสูง แม้ความเห็นพ้องสูง แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะรับมือ เพราะเป็นสถานการณ์ที่ Complicate เช่นกัน การแก้ปัญหาจาเป็นต้องวิเคราะห์ scenario หลายรูปแบบเพื่อรับมือกับความผันผวน และในสถานการณ์ที่ท้าทายที่สุดคือ สถานการที่ ความเปลี่ยนแปลงสูง และความเห็นพ้องต่า สถานการณ์ในลักษณะนี้มีความ

ซับซ้อน เป็นสถานการณ์ที่ Complex ซึ่งไม่เคยเจอมาก่อน ดังนั้นจาเป็นต้องแก้ปัญหาด้วยวิธีการคิดและการทาในรูปแบบใหม่

วิเคราะห์สิ่งที่เผชิญอย่างเป็นระบบ เพื่อหาสาเหตุ ที่แท้จริง อย่าด่วนสรุป เพื่อจะรับมือได้ถูกต้อง

เราไม่ควรด่วนสรุปว่า องค์กรไม่รอดเพราะ ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีดิจิทัลได้

เพราะความเป็นจริงคือเราไม่เข้าใจผู้บริโภคมากกว่า การทางานของ HR มักมุ่งเน้นไปที่การนาสิ่ง

ใหม่ๆ มา หรือ การปรับสิ่งแวดล้อมการทางานให้มีเทคโนโลยีใหม่ๆ แต่ก็ยังไม่ประสบความสาเร็จ

อันเป็นเพราะเราไม่เข้าใจพนักงานอย่างเท้จริง นั่นจึง เป็นที่มาของแนวคิด design thinking

ยกตัวอย่างกรณีโกดัก สิ่งที่เกิดไม่ใช่โกดักไม่สามารถปรับตัวสามารถผลิตนวัตกรรมกล้องดิจิทัล

ได้ เพราะ โกดักผลิตกล้องดิจิทัลได้ก่อนคนอื่น แต่มีปัญหาคือไม่สามารถเอาความคิดดีๆ ออกมา

สร้างให้เกิดเป็นธุรกิจใหม่ โกดักไม่เข้าใจผู้บริโภคว่า การถ่ายภาพเป็นกิจกรรมที่ใครๆ ก็ทาได้ทุก

เวลาสนุกสนาน เป็น hobby ไม่ต้องเป็นมืออาชีพ โกดักจับเทรนด์ไม่ได้หรือไม่พยายามเข้าใจ เท

รนด์ ซึ่งในที่สุดก็ สร้างความเสียหายอยางใหญ่หลวงให้กับบริษัทในเวลาต่อมา

การทางาน HR ก็เช่นกัน ก่อนการลง มือแก้ปัญหาควรมีการวิเคราะห์ปัจจัย ที่เกี่ยวข้อง และ พิจารณา scenario ต่างๆ ให้รอบด้าน แต่ก็ไม่รอจนทุก อย่าง ครบจึงค่อยลงมือทา

เทคโนโลยีมีอานุภาพมากกว่าที่เราเข้าใจ และควรนามาเพื่อสร้าง super team ไม่ใช่เพียงแค่แทนที่งาน

อานุภาพของเทคโนโลยีนั้นมีมากกว่า แค่เพียงการนามาใช้เพื่อทดแทนคน เพื่อเป็น substitution แต่เทคโนโลยีควรนามาใช้เพื่อช่วยให้

คนทางานได้ดีขึ้น มีความสะดวกสบาย และมีความสุขมากขึ้น ทาให้เกิด super job ตลอดจนทาให้ทีมหรือองค์กรมีประสิทธิภาพดีขึ้น ที่

เรียกว่าเป็น Super Team โดยการจะสร้าง Super Team ให้เกิดขึ้นได้นั้น องค์กรจะต้องใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างให้เกิดพลังจากความ

ร่วมมือและการประสานเจตจานงของคนและองค์กรให้สอดคล้องกันได้

สิ่งนี้คืออานุภาพที่สูงสุดของเทคโนโลยีที่องค์กร และ HR ควรใช้เป็นหลักในยกระดับการทางาน และสร้างการเปลี่ยนแปลง

Meaning

Super team

Value

Super job

Cost

Substitution

Low

Freeded capacity

High

อเมซอน ยกเลิกโครงการ AMZN.O ซึ่งเป็นระบบ AI ช่วยการสรรหา ซึ่ง เริ่มพัฒนาตั้งแต่ปี 2557 เพราะพบว่าข้อมูลที่ป้อนเข้าไปในระบบ ประมวลผลผลนั้นเป็นข้อมูลพนักงาน 10 ปีย้อนหลังซึ่งพนักงานส่วน ใหญ่ของอเมซอนขณะนั้นเป็นผู้ชาย มีผลทาให้ระบบคัดเลือกผู้สมัครที่ เป็นผู้หญิงออกจากกระบวนการเป็นส่วนใหญ่

Amazon Application Tracking System

สถาบัน MIT เผยผลการศึกษาซึ่งระบุว่า Facial Detection มีอคติต่อผู้หญิงผิวสีในอัตราของการระบุอาจสูงถึง 1 ใน 3

Darker female

Darker male

Lighter female

20.8% Error Rate

Lighter male

33.7%

34.4%

31.4%

Source : MIT India, 2018

พนักงานส่งอาหารฟ้องบริษัทนายจ้าง ซึ่งนาระบบ Facial Recognition มาใช้ โดยระบุว่า ระบบดังกล่าวทา ให้เกิดการแบ่งแยกกีดกันชาติพันธ์ของคน เพราะระบบจะแจ้งให้พนักงานคนดังกล่าวซึ่งเป็นคนผิวสีต้อง ระบุตัวตนซาๆ หลายครั้งเนื่องจากเครื่องไม่สามารถแยกแยะและระบุตัวตนได้ถูกต้อง

Courier sues Uber Eats over ‘ racist ’ facial recognition dismissal

A former Uber Eats courier has brought legal action against the food delivery company, alleging he was unfairly dismissed because of the company ’ s “ racist ” facial recognition software

Uber Eats drivers are required to take a selfie before starting a shift to verify their identity. However, an employee said that the Uber Eats app told him to take multiple selfies a day because the software incorrectly thought he was someone else.

เทคโนโลยีเป็นดาบสองคมที่มีทั้งคุณและโทษ

เราทราบกันโดยทั่วไปกว่าเทคโนโลยี มีส่วนสาคัญในการยกระดับการทางาน และความเป็นอยู่ของคน ถ้าหาก

เราใช้ด้วยความรับผิดชอบ และ คานึงถึงผู้ใช้ ซึ่งในกรณี คือ “ พนักงาน ” เป็นศุนย์กลาง ของการพิจารณาเลือกและ ออกแบบเทคโนโลยี

Everything Everywhere Augmented เราพร้อมรึยังสาหรับโลกที่เชื่อมต่อ และ เชื่อมโยงกันตลอดเวลา

ทัสเริ่มก่อตั้ง และปัจจุบันดารงตาแหน่งกรรมการผู้จัดการบริษัท ทีเอเอสคอนซัลติ้งพาร์ทเนอร์ เป็นผู้มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญทางด้านการกาหนดยุทธศาสตร์ให้กับธุรกิจ , ตลอดจนการออกแบบและ วางแผนพัฒนาองค์กรเพื่อให้ประสบความสาเร็จและเติบโตในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ทัสเคยดารงตาแหน่งผู้บริหารระดับสูงในองค์กรชั้นนาของประเทศไทย และเคยดารงตาแหน่งผู้บริหารสายงาน HR ประจาภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ และ เอเซียใต้ของกลุ่มบริษัทชั้นนาของโลก ในช่วงระยะเวลาทการทางานใน ภาคเอกชน ซึ่งทัสมีประสบการณ์ยาวนานกว่า 30 ปี ในบทบาทผู้บริหารบริษัทที่ปรึกษา ทัสได้รับความไว้วางใจจากผู้บริหารระดับสูงของบริษัทชั้นนา ทั้งบริษัทข้ามชาติ และ บริษัทไทยซึ่งมีลักษณะการบริหารเฉพาะตัวรวมถึงธุรกิจซึ่งเติบโตมาจากธุรกิจครอบครัว , ทั้งบริษัทขนาด ใหญ่ซึ่งเป็นบริษัทมหาชน และ บริษัทขนาดกลางและขนาดย่อม , ทั้งภาคเอกชน , องค์กรมหาชน , และภาคที่ไม่ แสวงหาผลกาไร รวมกว่า 60 องค์กร ครอลคลุม 17 กลุ่มธุรกิจ www.tas-consultingpartner.com

นอกจากนั้น ทัสยังได้รับการแต่งติ้งให้เป็นคณะกรรมการ และ ที่ปรึกษาให้กับหน่วยงานและสถาบันการศึกษาอีกด้วย

ประสบการณ์ทางาน

ทัส จันทรี

ทีเอเอสคอนซัลติ้งพาร์ทเนอร์

กรรมการผู้จัดการ

tas@tas-consultingpartner.com

บริษัทปูนซึเมนต์นครหลวง จากัด ( มหาชน )

รองประธานอาวุโส สายงานบริหารบุคคลและประสิทธิภาพองค์กร

กลุ่มบริษัทโฮลซิม ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ผู้อานวยการสายงานบริหารบุคลากร

ประจาภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้และเอเซียใต้

ผู้จัดการฝ่ายฝึกอบรม

บริษัท โซนี่ จากัด

Training Specialist

บริษัท เจเนอรัลมอเตอร์ จากัด

HR Specialist

บริษัท ดาวเคมิคอล จากัด

นักสังคมสงเคราะห์

กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

การศึกษา

Harvard Business School, USA

Certificate - Advanced Management Program #183

INSEAD, France

Certificate – Managing People Program

IMD, Switzerland

Certificate – Executive Management Development Program

Berkley, USA

Certificate – Certified Executive Coach

University of St. Gallen, Switzerland

Certificate – Management Development Program

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต

สังคมสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิต

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต

www.tas-consultingpartner.com

© 2017 - 2023 TAS Consulting Partner I All Rights Reserved

Page 1 Page 2 Page 3 Page 4 Page 5 Page 6 Page 7 Page 8 Page 9 Page 10 Page 11 Page 12 Page 13 Page 14 Page 15 Page 16 Page 17 Page 18 Page 19 Page 20 Page 21 Page 22 Page 23 Page 24 Page 25 Page 26 Page 27 Page 28 Page 29 Page 30 Page 31 Page 32 Page 33 Page 34 Page 35 Page 36 Page 37 Page 38 Page 39 Page 40 Page 41 Page 42 Page 43 Page 44 Page 45 Page 46 Page 47 Page 48

Made with FlippingBook Online newsletter maker